Open-labeled pilot study of cysteine-rich whey protein isolate supplementation
for nonalcoholic steatohepatitis patients
Taned Chitapanarux, Prasong Tienboon, Suwalee Pojchamarnwiputh and Donrawee Leelarungrayub.
Journal of Gastroenterology and Hepatology 24;6 : 1045–1050, 2009.
for nonalcoholic steatohepatitis patients
Taned Chitapanarux, Prasong Tienboon, Suwalee Pojchamarnwiputh and Donrawee Leelarungrayub.
Journal of Gastroenterology and Hepatology 24;6 : 1045–1050, 2009.
การศึกษาวิจัยทางคลีนิกกับผู้ป่วยโรคตับอักเสบจากการคั่งสะสมของไขมันในตับที่มิได้มีสาเหตุมาจากการดื่มแอลกอฮอล์ โดยทีม
นักวิจัยคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทีมวิจัย
นพ. ธเนศ ชิตาพนารักษ์ หน่วยระบบทางเดินอาหารและตับ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
ดร. นพ. ประสงค์ เทียนบุญ หน่วยโภชนศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
พญ. สุวลี พจมานวิพุธ หน่วยวินิจฉัยทางรังสีวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์
ดร. นัฏฐกาล ลีลารุ่งระยับ ภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์
นักวิจัยคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทีมวิจัย
นพ. ธเนศ ชิตาพนารักษ์ หน่วยระบบทางเดินอาหารและตับ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
ดร. นพ. ประสงค์ เทียนบุญ หน่วยโภชนศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
พญ. สุวลี พจมานวิพุธ หน่วยวินิจฉัยทางรังสีวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์
ดร. นัฏฐกาล ลีลารุ่งระยับ ภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์

ภาวะอ้วนลงพุงซึ่งเกิดจากพฤติกรรมบริโภคสารอาหารให้พลังงานมากเกินควรและไม่ออกกำลังกายกำลังเป็นปัญหาที่พบมากขึ้นเรื่อย ๆ ในสังคมไทยและส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมาอีกหลายโรคโดยเฉพาะโรคไขมันสะสมในตับ และในคนที่เป็นโรคเบาหวานหรือโรคอ้วนร่วมด้วยจะมีโอกาสพบโรคไขมันสะสมในตับได้มากถึง 7 ใน 10 ราย โรคไขมันสะสม
ในตับที่เกิดการอักเสบเรื้อรังร่วมด้วยหากปล่อยทิ้งไว้จนมีภาวะแทรกซ้อนของภาวะตับแข็งจะมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดมะเร็งตับ
เนื่องจากภาวะขาดกลูทาไธโอน สารต้านอนุมูลอิสระที่สำคัญของร่างกาย เป็นปัจจัยหลักที่นำไปสู่ความเสียหายของตับและการเกิดภาวะตับอักเสบที่เกิดจากไขมันคั่งสะสมในตับได้ และเนื่องจาก HMS 90® เป็นเวย์โปรตีนที่ได้รับการพิสูจน์จากการวิจัยทางคลีนิกว่าสามารถเพิ่มระดับกลูทาไธโอนในผู้ป่วยหลาย ๆ ภาวะได้ ทีมนักวิจัยคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จึงสนใจนำเวย์โปรตีนดังกล่าวมาทำการวิจัย เพื่อศึกษาผลของการเพิ่มระดับกลูทาไธโอนและการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและทางพยาธิสรีรวิทยาในผู้ป่วยโรคตับอักเสบที่เกิดจากไขมันสะสมในตับที่มิได้มีสาเหตุจากการดื่มแอลกอฮอล์
ผู้ป่วยจำนวน 38 คนที่ได้รับการตรวจคัดกรองและยืนยันว่าเป็นโรคตับอักเสบที่เกิดจากไขมันพอกตับรวมทั้งการตรวจด้วย CT Scan ซึ่งส่วนใหญ่มีน้ำหนักตัวเกินหรือเป็นโรคอ้วนและมีระดับคอเลสเตอรอลสูงแต่ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาใด ๆ ถูกคัดเลือกให้เข้าร่วมการวิจัยและรับประทาน HMS 90® เวย์โปรตีนไอโซเลต จำนวน 2 ซอง (20กรัม) ต่อวัน ติดต่อกันเป็นเวลา 3 เดือน โดยทุกคนได้รับคำแนะนำให้ดำเนินชีวิตเหมือนเดิมก่อนเริ่มการวิจัย ซึ่งทั้งหมดเป็นมีพฤติกรรมไม่ออกกำลังกายและไม่พยายามจำกัดอาหารผลการวิจัยพบว่า
1. 63% ของผู้ป่วยมีระดับไขมันสะสมในตับลดลงจากการวัดโดย CT Scan
2. 66% ของผู้ป่วยมีสภาวะการทำงานของตับดีขึ้นโดยวัดจากค่าเอ็นไซม์ตับ AST, ALTและ GGT ที่ลดลงสู่ระดับปกติ
3. ผู้ป่วยมีระดับสารพิษที่เกิดจากการทำลายโมเลกุลไขมัน (MDA) และโมเลกุลโปรตีน (PrOOH) ลดลง 20% และ 26%
ตามลำดับ ซึ่งแสดงถึงสมดุลของสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีขึ้นและความเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระที่ลดลง
4. ผู้ป่วยมีระดับกลูทาไธโอนในเม็ดเลือดแดงสูงขึ้นโดยเฉลี่ย 28%
เนื่องจากภาวะขาดกลูทาไธโอน สารต้านอนุมูลอิสระที่สำคัญของร่างกาย เป็นปัจจัยหลักที่นำไปสู่ความเสียหายของตับและการเกิดภาวะตับอักเสบที่เกิดจากไขมันคั่งสะสมในตับได้ และเนื่องจาก HMS 90® เป็นเวย์โปรตีนที่ได้รับการพิสูจน์จากการวิจัยทางคลีนิกว่าสามารถเพิ่มระดับกลูทาไธโอนในผู้ป่วยหลาย ๆ ภาวะได้ ทีมนักวิจัยคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จึงสนใจนำเวย์โปรตีนดังกล่าวมาทำการวิจัย เพื่อศึกษาผลของการเพิ่มระดับกลูทาไธโอนและการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและทางพยาธิสรีรวิทยาในผู้ป่วยโรคตับอักเสบที่เกิดจากไขมันสะสมในตับที่มิได้มีสาเหตุจากการดื่มแอลกอฮอล์
ผู้ป่วยจำนวน 38 คนที่ได้รับการตรวจคัดกรองและยืนยันว่าเป็นโรคตับอักเสบที่เกิดจากไขมันพอกตับรวมทั้งการตรวจด้วย CT Scan ซึ่งส่วนใหญ่มีน้ำหนักตัวเกินหรือเป็นโรคอ้วนและมีระดับคอเลสเตอรอลสูงแต่ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาใด ๆ ถูกคัดเลือกให้เข้าร่วมการวิจัยและรับประทาน HMS 90® เวย์โปรตีนไอโซเลต จำนวน 2 ซอง (20กรัม) ต่อวัน ติดต่อกันเป็นเวลา 3 เดือน โดยทุกคนได้รับคำแนะนำให้ดำเนินชีวิตเหมือนเดิมก่อนเริ่มการวิจัย ซึ่งทั้งหมดเป็นมีพฤติกรรมไม่ออกกำลังกายและไม่พยายามจำกัดอาหารผลการวิจัยพบว่า
1. 63% ของผู้ป่วยมีระดับไขมันสะสมในตับลดลงจากการวัดโดย CT Scan
2. 66% ของผู้ป่วยมีสภาวะการทำงานของตับดีขึ้นโดยวัดจากค่าเอ็นไซม์ตับ AST, ALTและ GGT ที่ลดลงสู่ระดับปกติ
3. ผู้ป่วยมีระดับสารพิษที่เกิดจากการทำลายโมเลกุลไขมัน (MDA) และโมเลกุลโปรตีน (PrOOH) ลดลง 20% และ 26%
ตามลำดับ ซึ่งแสดงถึงสมดุลของสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีขึ้นและความเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระที่ลดลง
4. ผู้ป่วยมีระดับกลูทาไธโอนในเม็ดเลือดแดงสูงขึ้นโดยเฉลี่ย 28%

ผลการศึกษาวิจัยนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับของภาคพื้นเอเชียแปซิฟิค
Journal of Gastroenterology & Hepatology (vol. 24 issue 6, p. 1045 – 1050. 2009)
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19638084
รวมทั้งได้รับเลือกให้นำไปเผยแพร่ใน งานประชุมวิชาการประจำกลางปี สมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย โรงแรมฮิลตั้น หัวหิน
ประจวบคีรีขันธุ์ วันที่ 11 กรกฎาคม 2551
งานประชุมวิชาการสมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารแห่งสหรัฐอเมริกา Digestive Disease Week® (DDW)
ณ เมืองซานดิเอโก้ เมื่อวันที่ 17-22 พฤษภาคม 2551 และ
งานประชุมวิชาการโภชนาการนานาชาติ International Congress of Nutrition ครั้งที่ 19 ณ ศูนย์ประชุมไบเทค
วันที่ 4-9 ตุลาคม 2552
Journal of Gastroenterology & Hepatology (vol. 24 issue 6, p. 1045 – 1050. 2009)
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19638084
รวมทั้งได้รับเลือกให้นำไปเผยแพร่ใน
ประจวบคีรีขันธุ์ วันที่ 11 กรกฎาคม 2551
ณ เมืองซานดิเอโก้ เมื่อวันที่ 17-22 พฤษภาคม 2551 และ
วันที่ 4-9 ตุลาคม 2552
HMS 90®
Contact Details
บริษัท อิมมูโนไทย จำกัด245/4 ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110092-696-6925info@immunothai.co.th